วันพฤหัสบดีที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2556

แผนการจัดการเรียนรู้ม.2

แผนการจัดการเรียนรู้ที่   ๑.๑
 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย                                                                        ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  
 หน่วยที่    สมบัติวรรณคดีของไทย                                                           เวลา         ชั่วโมง
 เรื่อง   วิเคราะห์วรรณคดีไทย                                                                        เวลา           ชั่วโมง
                                                                                                                                          .                                                                                                                                           

มาตรฐาน ท ๕.
เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง


ตัวชี้วัด
                  ๕.๑ ม.  ๒/๒ วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีวรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถิ่นที่อ่านพร้อมยกเหตุผลประกอบ
                  ๕.๑ ม.  ๒/๓ อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน
                  ๕.๑ ม.  ๒/๔ สรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่านเพื่อประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
สาระสำคัญ
                    วรรณคดีไทย เป็นมรดกทางภาษาอันล้ำค่าของไทย ผู้เรียนควรศึกษาเรียนรู้ถึงคุณค่าแห่งอรรถรสและความงดงามทางภาษาตลอดจนคุณค่าในแง่มุมต่างๆ  เพื่อให้เกิดความซาบซึ้งผูกพันกับเอกลักษณ์ของความเป็นไทย  ร่วมกันอนุรักษ์และสืบสานมรดกอันล้ำค่านี้ให้คงอยู่คู่ความเป็นไทยตลอดไป
จุดประสงค์การเรียนรู้
๑.การวิเคราะห์คุณค่าของวรรณคดีไทยและวรรณกรรมท้องถิ่น(K)
๒.การสรุปความจากการอ่าน(K)
๓.ฝึกวิเคราะห์คุณค่าของวรรณคดีไทยและวรรณกรรมท้องถิ่น(P)
๔. ฝึกเขียนอธิบายวิเคราะห์คุณค่าของวรรณคดีไทยและวรรณกรรมท้องถิ่น(P)
๕. ฝึกสรุปความจากเรื่องที่อ่าน(P)
๖. เห็นคุณค่าและซาบซึ้ง(A)
๗. รักการอ่าน ใฝ่เรียนรู้ รักการแสวงหาความรู้ นำความรู้ที่ได้จากการอ่านไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง(A)
สาระการเรียนรู้
การวิเคราะห์วรรณคดีไทย หมายถึง การพิจารณาคุณค่าของงานประพันธ์ต่าง ๆ สามารถพิจารณาคุณค่าได้ใน  3  ลักษณะ  คือ คุณค่าด้านวรรณศิลป์  คุณค่าด้านเนื้อหา  คุณค่าด้านสังคม 


กระบวนการจัดการเรียนรู้
                ๑.  ครูแจ้งตัวชี้วัดการเรียนรู้
๒.  นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน สมบัติวรรณคดีไทย  เสร็จแล้วนำส่งครูตรวจสอบความถูกต้องและประกาศผลโดยที่ยังไม่ต้องเฉลย
                ๓.  ครูร่วมกันสนทนากับนักเรียนซักถามเกี่ยวกับลักษณะของวรรณคดีไทยว่านักเรียนชื่นชอบวรรณคดีไทยเรื่องใดบ้าง  และผู้แต่งวรรณคดีเรื่องที่ชอบคือใคร  แต่งในสมัยใด ตัวละครมีใครบ้าง  นักเรียนตอบอย่างอิสรเสรี  โดยครูสุ่มถามทีละคน  ๕ คนแล้วถามนักเรียนคนอื่นๆว่ารู้จักวรรณคดีเรื่องนั้นหรือไม่
                ๔.   นักเรียนอ่านในใจบทเรียน ตอน  บทนำ สมบัติวรรณคดีของไทยในหนังสือเรียนภาษาไทย
ม. ๒  ชุดวรรณคดีวิจักษ์  หน้า  ๗ แล้วผลัดเปลี่ยนกันตั้งคำถามให้เพื่อนตอบ  คนละ    คำถาม  จากนั้น  ครูตั้งคำถามด้วยประโยคต่อไปนี้
๑. คำว่าศิลปะ   หมายความว่าอย่างไร
๒. วรรณคดีไทย  ให้คุณค่าแก่คนไทยในด้านใดบ้าง
๓.วรรณคดีมุขปาฐะ  หมายความว่าอย่างไร
๔. วรรณคดีลายลักษณ์  หมายความว่าอย่างไร
๕. จินตนาการในวรรณคดี  หมายความว่าอย่างไร
        ๖. วรรณคดีไทยให้คุณค่าด้านคุณธรรมแก่ผู้ศึกษาอย่างไร
๗. วรรณกรรมมีลักษณะอย่างไร
๘. วรรณคดีมีลักษณะอย่างไร
๙.  วรรณคดีกับวรรณกรรมมีความเหมือนและแตกต่างกันอย่างไร
๑๐.  ให้ยกตัวอย่างวรรณกรรมและวรรณคดีอย่างละ    เรื่อง
นักเรียนแข่งขันตอบอย่างอิสรเสรี   ครูเฉลยคำตอบ
                ๕.   นักเรียนเล่นเกมต่อคำคล้องจองร่วมกันทั้งชั้น  โดยคนที่  ๑ เริ่มเล่น
ด้วยการบอกคำ    พยางค์ขึ้นมา    คำ  เช่น  สวยงาม  คนที่    ต่อด้วย  ทรามวัย
หรือคำอื่นที่คล้องจองกัน ครูเขียนคำที่นักเรียนบอกแต่ละคนบนกระดาน  จากนั้นคนที่ ๓  พูดต่อด้วยคำที่คล้องจองกัน  ให้ทุกคนได้พูดคนละ    รอบ  คนที่ต่อไม่ถูกต้องออกมายืนหน้าชั้น  ครูให้ทำกิจกรรมอื่นตามที่กำหนดให้  จากนั้นนักเรียนทุกคนอ่านคำที่อยู่บนกระดานพร้อมกัน  ครูอธิบายว่าคำคล้องจองคือจุดเริ่มของการแต่งคำประพันธ์ร้อยกรอง
                ๖ .   นักเรียนทำบัตรกิจกรรมการเรียนรู้ที่ ๑    เสร็จแล้ว  นำส่งครูตรวจสอบประเมินผลและประกาศผลการประเมิน   พร้อมทั้งแนะนำแก้ไขข้อบกพร่องให้นักเรียนปรับปรุง
               

สื่อ /  แหล่งเรียนรู้
         สื่อการเรียนรู้
        ๑. รูปภาพประกอบบทเรียน
       ๒. แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน
       ๓. บัตรกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 
      ๔. หนังสือเรียน  ชุด วรรณคดีวิจักษ์  ชั้น ม. ๒
       ๕. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน
       ๖. แบบประเมินการสังเกตพฤติกรรม
        แหล่งเรียนรู้
        ๑. ห้องสมุด
        ๒. อินเตอร์เน็ต

การวัดผลและประเมินผล

กิจกรรม-พฤติกรรมที่ประเมิน

เครื่องมือที่ใช้ใน
การประเมิน
วิธีการประเมิน
เกณฑ์การประเมิน
. นักเรียนทำแบบทดสอบ
     ก่อนเรียน
แบบทดสอบก่อนเรียน
ตรวจงานรายบุคคล
ร้อยละ  ๗๐  ขึ้นไป
. นักเรียนเล่าเรื่องและตั้ง
      ตอบคำถาม
แบบประเมินรายกลุ่ม

สังเกตรายกลุ่ม

ร้อยละ  ๗๐  ขึ้นไป
. นักเรียนทำบัตรกิจกรรม
แบบประเมินการสังเกต
พฤติกรรม และแบบประเมินผลงาน

ตรวจงานรายบุคคล

ร้อยละ  ๗๐  ขึ้นไป
๔. ประเมินพฤติกรรมและผลงานระหว่างเรียน

แบบประเมินพฤติกรรมและผลงานระหว่างเรียน

ตรวจงานรายกลุ่ม

ร้อยละ  ๗๐  ขึ้นไป






แบบประเมินพฤติกรรมและผลงานระหว่างเรียน
ความหมาย
                         ๑.  ตั้งใจ  หมายถึง  ความมานะ  อดทนทำงานจนเสร็จ  ( A )
                         ๒.  ความร่วมมือ  หมายถึง  สมาชิกในกลุ่มให้ความร่วมมือทำงานจนเสร็จ  ( A )
                         ๓.  ความมีวินัย  หมายถึง  ผลงาน  หรือการทำงานเป็นระบบระเบียบเรียบร้อย  สะอาด  สวยงาม  และได้เนื้อหาครบถ้วน  ทันหรือตรงต่อเวลา  ( A,K )
                         ๔.  คุณภาพของผลงาน  หมายถึง  ผลงานเรียบร้อย  สวยงาม  เนื้อหาครบถ้วน 
ภาษาที่ใช้เหมาะสม  (P –  Product, K)
๕.  การนำเสนอผลงาน  หมายถึง  การพูดอธิบายนำเสนอผลงานได้ตามลำดับ 
และเนื้อหาถูกต้อง  ( P – Process, K )
เกณฑ์การประเมิน
                            หมายถึง         ทำได้ดีมาก                               หมายถึง                                ทำได้ดี
                           หมายถึง         ทำได้พอใช้                               หมายถึง                                ควรปรับปรุง
เลขที่
ความตั้งใจ
(๔)
ความร่วมมือ
(๔)
ความมีวินัย
(๔)
คุณภาพของผลงาน  (๔)
การนำเสนอผลงาน  (๔)
รวม
(๒๐)
























เกณฑ์การให้คะแนนกระบวนการทำงานกลุ่ม

ประเด็นการประเมิน
เกณฑ์การให้คะแนน/ระดับ
๑.  การกำหนด
   เป้าหมายร่วมกัน
สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วมในการกำหนดเป้าหมายการทำงานอย่างชัดเจน
สมาชิกส่วนใหญ่มี
ส่วนร่วมในการกำหนดเป้าหมายในการทำงาน
สมาชิกส่วนน้อยมี
ส่วนร่วมในการกำหนดเป้าหมายในการทำงาน
.  การแบ่งหน้าที่
   รับผิดชอบ
กระจายงานได้อย่าง
ทั่วถึงและตรงตามความสามารถของสมาชิกทุกคน
กระจายงานได้ทั่วถึง แต่ไม่ตรงตามความสามารถของสมาชิก
กระจายงานไม่ทั่วถึง
.  การปฏิบัติหน้าที่
   ที่ได้รับมอบหมาย
ทำงานได้สำเร็จตาม
เป้าหมายที่ได้รับมอบหมาย ตามระยะเวลาที่กำหนด
ทำงานได้สำเร็จตาม
เป้าหมายแต่ช้ากว่าเวลาที่กำหนด
ทำงานไม่สำเร็จตาม
เป้าหมาย
๔.  การประเมินและ
   ปรับปรุงผลงาน
สมาชิกทุกคนร่วมปรึกษาหารือ ติดตามตรวจสอบและปรับ
ปรุงผลงานเป็นระยะ
สมาชิกบางส่วนมีส่วนร่วมปรึกษาหารือแต่ไม่ช่วยปรับปรุงผลงาน
สมาชิกบางส่วนไม่มี
ส่วนร่วมปรึกษาหารือและไม่ช่วยปรับปรุงผลงาน












แบบประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย                                                                         วิชา  ภาษาไทย   
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่                                                                                        กลุ่มที่ …….....

ที่
รายการประเมิน
คะแนน
ข้อคิดเห็น
๑.
การกำหนดเป้าหมายร่วมกัน




๒.
การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ




๓.
การปฏิบัติตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย




๔.
การประเมินและปรับปรุงผลงาน






รวม







ลงชื่อ                                                      ผู้ประเมิน
                                                                                                     (                                                 )

เกณฑ์การประเมิน
                         ๑๑๑๒ =    ดีมาก
                         ๑๐           =    ดี
                                =    พอใช้
                                =    ปรับปรุง
 






เกณฑ์การประเมินการนำเสนอผลงาน
แนวทางการพิจารณา

ระดับคะแนน
หัวข้อการพิจารณา/ระดับการปฏิบัติหรือพฤติกรรม
เนื้อหา
กลวิธีการนำเสนอ
ขั้นตอนการนำเสนอ
การใช้ภาษา
ตอบคำถาม/เวลา
มีการเรียงลำดับเนื้อหาได้ดี
มีความต่อเนื่อง
มีประโยชน์
ให้แง่คิด
มีการนำเข้าสู่เนื้อเรื่อง  มีความ สัมพันธ์กับเนื้อเรื่อง  เร้าใจผู้ฟัง
มีความมั่นใจ
มีการนำเสนออย่างต่อเนื่องราบรื่นเป็นไปตามขั้นตอน
ออกเสียงถูกต้องตามอักขรวิธีและดังชัดเจน ใช้ภาษาเหมาะสม เข้าใจง่าย มีการใช้สำนวนโวหาร
ตอบคำถามได้อย่างมีภูมิรู้  และมีความชัดเจน มีแหล่งอ้างอิง
ใช้เวลาตามกำหนด
มีการเรียงลำดับเนื้อหาได้ดี
มีความต่อเนื่อง
มีประโยชน์
ให้แง่คิดน้อย
มีการนำเข้าสู่เนื้อเรื่อง  มีความ สัมพันธ์กับเนื้อเรื่อง  เร้าใจผู้ฟัง
ไม่มีความมั่นใจในการนำเสนอ
การนำเสนอต่อเนื่อง  มีการข้ามขั้นตอนบ้าง
ออกเสียงถูกต้องตามอักขรวิธีและดังชัดเจน ใช้ภาษาเหมาะสมเข้าใจง่าย  ไม่มีการใช้สำนวนโวหาร
ตอบคำถามได้ค่อนข้างชัด เจน มีแหล่งอ้างอิง
ใช้เวลาเกินกำหนด    นาที
มีการเรียงลำดับเนื้อหาได้ดี
มีความต่อเนื่อง
มีประโยชน์น้อยให้แง่คิดน้อย
มีการนำเข้าสู่เนื้อเรื่อง  มีความ สัมพันธ์กับเนื้อเรื่อง ไม่ เร้าใจผู้ฟัง
ไม่มีความมั่นใจในการนำเสนอ
การนำเสนอต่อเนื่อง ไม่มีขั้นตอนเป็นส่วนใหญ่
ออกเสียงถูกต้องตามอักขรวิธีและดังชัดเจน ใช้ภาษาเข้าใจยาก  ไม่มีการใช้สำนวนโวหาร
ตอบคำถามได้ไม่ค่อยชัดเจน
มีแหล่งอ้างอิงเป็นบางส่วน
ใช้เวลาเกินกำหนด
  นาที
มีการเรียงลำดับเนื้อหาได้ดี
ไม่มีความต่อเนื่อง
มีประโยชน์น้อยให้แง่คิดน้อย
มีการนำเข้าสู่เนื้อเรื่อง  ไม่มีความ สัมพันธ์กับเนื้อเรื่อง  ไม่เร้าใจผู้ฟัง
ไม่มีความมั่นใจในการนำเสนอ
การนำเสนอ
ไม่ต่อเนื่องนำเสนอสับสน
ออกเสียงถูกต้องตามอักขรวิธีและดังชัดเจน ใช้ภาษาไม่เหมาะสม เข้าใจยาก ไม่มีการใช้สำนวนโวหาร
ตอบคำถามไม่ได้เป็น
ส่วนใหญ่
ใช้เวลาเกินกำหนด    นาที

แบบประเมินการนำเสนอผลงาน

กลุ่มที่............................................................ห้อง.......................


                   ประเด็น

ชื่อสกุล
สมาชิก
เนื้อหา
กลวิธี
การนำเสนอ
ขั้นตอนการนำเสนอ
การใช้ภาษา
การตอบคำถาม
/เวลา
รวมคะแนน
๒๐
๑.






๒.






๓.






๔.






๕.






๖.






๖.






๘.








                                                                                ลงชื่อ......................................................ผู้ประเมิน
                                                                                             (                                              )
                                                                                วันที่......เดือน......................ปี................

เกณฑ์การประเมิน    หมายถึง    ดีมาก
                                        หมายถึง    ดี
                                        หมายถึง    พอใช้
                                        หมายถึง     ต้องปรับปรุง





บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
                         .............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ปัญหา/อุปสรรค
     ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข
                         .............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

                        

                                                                                                ลงชื่อ..........................................................ผู้สอน
                                                                                                          ( นางจงกลนี              แย้มบางยาง )